Sunday 26 May 2013

ท่องแคว้นราชสถาน อินเดีย : เมืองจัยซัลแมร์ (Jaisalmer)

Once a sleepy desert city, Jaisalmer has transformed itself into a major tourist destination of India. Situated amid picturesque Thar Desert, the Jaisalmer city commands premiere position among the tourist attractions scattered all over the desert land of Rajasthan. The Jaisalmer city is revered both by Indians as well as foreign tourists.

Like various other cities of Rajasthan, you will discover different facets of Jaisalmer as you explore this wonderful city with us. Tough there are historical monuments scattered all over the city but the Jaisalmer Fort will immediately command your attention. Made of sand stones and locally known as Sonar Quila, the Jaisalmer Fort is a dominating structure amidst sands. The Jaisalmer city is also known for its old mansions, better known as Havelis. Among many of them you will find Salim ji ki haveli and Nathmal ji ki haveli as the most striking. There are other monuments too, which are equally important because of their distinct and individual architecture. The amalgamation of ancient and the medieval era architecture will catch your fancy.

from.. http://www.jaisalmer.org.uk/




จัยแซลเมียร์ (Jaisalmer) คือเมืองที่ได้รับสมญานามว่า นครสีทองตั้งอยู่บนที่ราบสูง กลางที่ราบทะเลทรายธาร์ มีกำแพงสูงใหญ่ดูโอฬาร เป็นเมืองท่องเที่ยวที่อยู่ทางตะวันตกสุดของแคว้นราชาสถาน ในอดีตเคยเป็นเส้นทางการค้าที่สำคัญระหว่างอินเดียกับตะวันออกกลาง  นครแห่งนี้ก่อสร้างขึ้นจากหินทรายสีเหลืองเป็นส่วนใหญ่ เมื่อยามต้องแสงอาทิตย์อัสดงที่ไล้ลงบนพื้นผิวของหินเหล่านี้ ก็จะปรากฏให้เห็นเป็นสีทองอร่ามตา และนี่คือที่มาของสมญา นครสีทอง 




ด้วยเหตุที่จัยแซลเมียร์เคยเป็นเส้นทางการค้าที่สำคัญ ส่งผลให้พ่อค้าวาณิชย์ในตระกูลดังๆ หลายๆคนร่ำรวยกันอย่างมหาศาล        กลายเป็นอภิมหาเศรษฐี มีคฤหาสน์ที่ใหญ่โตมโหฬาร ปัจจุบัน คฤหาสน์ เหล่านี้จึงกลายเป็นแห่งท่องเที่ยวที่มีเสน่ห์น่าหลงใหล ให้ท่านได้ชมคฤหาสน์ของบรรดามหาเศรษฐี หรือที่เรียกว่า Haveli อาทิ Patwon-Ki-Haveli , Nathmal-Ki-Haveli     

The city of Jaisalmer has witnessed different forms of architecture in different eras. The ancient times saw dominating Rajputana architecture where as the medieval period witnessed the fusion of Rajputana and subtle Islamic architecture. It is this era that saw the construction of most of the Havelis. Haveli is places, which served as the residence of Wazirs i.e. ministers and landlords. Usually they are very big and have lots of rooms and open space.

There is no dearth of Havelis in Jaisalmer as the place has witnessed many wazirs and Landlords. The most famous among these is Patwon Ji ki Haveli. This Haveli was the first in Jaisalmer that is why it has greater significance. This Haveli became the pioneer of the constructions in Jaisalmer. Patwon Ji ki Haveli is actually the collection of 5 small Havelis.

If you want to witness the continuity in design, you will have to visit Nathmal Ji ki Haveli. Take a close look at the subtle fusion of Rajasthani and Islamic school of architecture. It is a Haveli constructed by two brothers. There are interesting stories related to its construction. They give an insight to the then prevailing forms of Architecture.

Last but not the least among major Havelis is Salim Ji ki haveli. Built in 1815, this Haveli is famous for its unique architecture based on the Peacock. Have a view of the city from one of its numerous balconies and you will get the real picture of the bustling cit










ป้อมจัยแซลเมียร์ (Jaisalmer Fort) ป้อมปราการขนาดใหญ่ สร้างโดย Bhatti Rajput rule Rawal Jaisal ในปีค.ศ. 1156 บนเขาทิตรีกูฏ โดยป้อมนี้ถือว่าเป็นป้อมที่สร้างลำดับที่ 2 ของรัฐราชสถาน ชมความสวยงามของปราสาททรายที่ตั้งตระหง่านท่ามกลางทะเลทราย ภายในป้อมมีบ้านพักของชาวบ้านที่พำนักอยู่อาศัยมานานนับร้อยปี ท่านจะได้เห็นทัศนียภาพของเมืองจัยแซลเมียร์โดยรอบ จากนั้นนำท่านชมคฤหาสน์ของเสนาบดีหลังแรกคือ Nathmal Ji Ki Haveli สูง 5 ชั้น ที่สร้างโดย Lalu และ Hathi 2 พี่น้องศิลปินและสถาปนิกเอก ที่สร้างอย่างวิจิตรบรรจง ด้วยการฉลุลายผนังอย่างละเอียดอ่อนและอีกหลังคือ Patwon ki Haveli ที่ใหญ่ที่สุดในเมืองจัยแซลเมียร์ ซึ่งภายในจะจัดแสดงสิ่งของเครื่องใช้ต่างๆ

Jaisalmer Fort is a monument worth visiting and worth retaining in your conscious mind. Like various other cities of Rajasthan, in Jaisalmer too you will find different facets of its own glorious heritage. Though you can find historical monuments scattered all over the city, the Jaisalmer Fort will immediately command your attention. Made of sand stones and locally known as Sonar Quila, the Jaisalmer Fort is a dominating structure amidst sands.

The city is said to be founded by one Raja Rawal Jaisal, a Bhatti Rajput ruler, in approximately 1156 A D. Legends go by that he did it on the behest of a local hermit named Eesaal. The raja choose Trikuta hill as the new site for his fort as his earlier adobe at Luderwa(16 k.m from present Jaisalmer) was too vulnerable to his comfort. But it should always be kept in mind that these legends are most of the time product of conscious minds that are very vulnerable to the oriental exaggeration.

Jaisalmer fort is the second oldest in Rajasthan. Two hundred and fifty feet tall and reinforced by imposing crenellated sandstone wall 30 feet high; it has 99 bastions, 92 of which were built between 1633 and 1647. Wells within the fort still provide a regular source of water. Even today, you will find that nearly one fourth of the old city's population resides within the fort. If you are a student of cross-cultural merging, the subtle fusion of Rajput and Islamic architectural styles, visible in this fort, will catch your fancy. Ganesh Pol, Akshya Pol, Suraj Pol and Hawa Pol are a must see.  













บนป้อมจัยซัลแมร์ จะมีบ้านเรือน ร้านอาหาร โรงแรม เกสเฮาส์  และ วัดเชน อยู่บนป้อม เหมือนเป็นเมืองเมืองหนึ่ง














 
ทะเลยทรายธาร์ ห่างจากตัวเมืองออกไปราว 42 กิโลเมตร เป็นอีกหนึ่งสถานที่ท่องเที่ยวที่โด่งดังใน จัยแซลเมียร์  ให้ท่านสัมผัสกับการขี่อูฐสู่ทะเลทรายธาร์ ชม Sam Sand Dunes เนินทรายแห่งนี้ เป็นที่ซึ่งโค้งขอบฟ้าจรดกับผืนแผ่นทรายได้อย่างงดงามเกินบรรยาย 











การสัมผัสชีวิตของ ชาวอินเดีย ที่จัยซัลแมร์  ไม่มีอะไรดีกว่าการเดินชมเมือง เดินเข้าตรอกซอกซอยที่แคบๆ  ที่มีบ้านเรือนปลูกอยู่อย่างแน่ขนัด





 
ยามเย็น ในวันที่ท้องฟ้าแจ่มใส เราอาจต้องการถ่ายภาพป้อมจัยซัลแมร์มุมกว้าง ในตอนเย็น เราสามารถออกไปนอกเมืองไม่กี่กิโลเมตร  จะมีเมรุเผาศพของชาวเมือง เป็นจุดชมเมือง ชมป้อมยามเย็นที่ดีที่สุด ถ่ายภาพเมือง ภาพป้อมแล้ว ก็อย่าลืมถ่ายภาพเมรุที่ก่อสร้างอย่าสวยงาม ตามแบบสถาปัตยกรรมอินเดียไว้ด้วย





การเดินทางมาเมืองจัยซัมเมอร์ สามารถมาได้หลายทาง เช่นทางรถยนต์ และ ทางรถไฟ  ปัจจุบันทางการอินเดีย กำลังเร่งก่อสร้างทางด่วนขนาดใหญ่มายังเมืองทะเลทรายแห่งนี้ เพื่อรองรับให้เป็นเมืองท่องเที่ยวอย่างแท้จริง  ทางรถไฟ มีรถไฟจากสถานีเมืองนิวเดลฮี ออกเดินทางเวลา 17.15 น.  และเดินทางถึงเมืองจัยซัลแมร์ เวลา 11.30 น. ในวันรุ่งขึ้น  ซึ่งนับเป็นการเดินทางที่สะดวกสบายมาก และ ตรงเวลา

ส่วนที่พัก ที่เมืองนี้มีโรแรมระดับตั้งแต่ห้าดาว จนถึงเกสเฮาส์ ให้เลือกมากมาย  คณะเราเลือกพักที่โรงแรม Jet Villa ที่ตกแต่งภายในหรูหราพอใช้ได้  แต่อยู่ค่อนข้างไกลไปนิด











อาหารการกิน ที่นี่ยังคงเหมือนอินเดียในส่วนอื่นๆ ที่มีแต่อาหารพื้นเมืองแบบมังสวิรัติ เนื้อสัตว์ก็มีแค่ เนื้อไก่ และ ไข่  ส่วนอาหารประเภทอื่นๆ หาทานยากมาก ถ้าเป็นคนทานยากแนะนำให้นำอาหารเสริมมา  แต่อาหารอินเดียที่นี่ รสชาดและกลิ่นก็เอาใจนักท่องเที่ยวพอประมาณ สามารถเลือกสั่งให้งดเครื่องเทศได้










No comments:

Post a Comment

ผ่านมาแล้วอย่าผ่านเลยไป แวะทักทายกันสักนิด......